SlideShare a Scribd company logo
ผลวิเคราะห์โครงการ
mSMEs
SCORING
แบบสอบถาม
• ผลการ Scoring ที่สะท้อนความพร้อมของ mSMEs ไทย
เพื่อนาไปสู่การต่อยอดศักยภาพที่ตรงกลุ่มเป้าหมาย
• มีผลการวิเคราะห์ Data analysis ที่สามารถต่อยอด
การส่งเสริม mSMEs ไทย จากแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
• Policy Recommendation
ในการส่งเสริม mSMEs ไทย สาหรับภาครัฐ
วัตถุประสงค์
2
นาข้อมูลที่มีการจัดเก็บอยู่แล้วจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ
ผู้ประกอบการ mSMEs ไปใช้วิเคราะห์เพื่อให้เกิดประโยชน์
Raw Data
ข้อมูลสามะโนอุตสาหกรรมปี
2560 จาก NSO
Data
Cleansing
Scoring
คะแนน ช่องทางการทา
e-Commerce
1 คะแนน ขายผ่านเว็บไซต์คนอื่น เช่น การนา Bann
er ไปวางบนหน้าเว็บไซต์อื่น
2 คะแนน ขายผ่าน Social Network เช่น Facebo
ok, Line, Instagram ฯลฯ
3 คะแนน ขายผ่าน e-Marketplace
4 คะแนน ขายผ่านเว็บไซต์ตนเอง
เกณฑ์การให้คะแนน โ��ยพิจารณาจากช่องทาง
ผู้ประกอบ
การสามารถเลือก
ทา e-Commerce
มากกว่า 1 ช่องทาง
ทาให้ช่วงคะแนนอยู่
ที่ ช่วง 1-10
คะแนน
Concept & Methodology
• ข้อมูลจานวนผู้ประกอบการ
mSMEs (ผู้ประกอบการที่มี
การจ้างงานน้อยกว่า หรือ
เท่ากับ 5 คน)
ที่ทา e-Commerce
• ขจัดข้อมูลที่ไม่มีการตอบ
แบบสอบถาม หรือตอบ
แบบสอบถามไม่ครบถ้วน
• ขจัยข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง
ข้อมูลการจดทะเบียน e-Commerce
ผู้ประกอบการจาก DBD
ข้อมูล พฤติการใช้อินเทอร์เน็ต / การ
สารวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ใน
ประเทศไทยจาก ETDA
Results &
Policy
Recommendation
Calculation
𝑋จังหวัด….. =
σ 𝑖=1
15
𝑥𝑖 𝑛 𝑖
𝑁
Analysis
3
1. NSO ข้อมูลสามะโนอุตสาหกรรมประจาปี 2560
รายงานบทวิเคราะห์โครงการ mSMEs SCORING
คุณคิดว่า
ผู้ประกอบการจังหวัดใด
มีความพร้อมในการทา e-Commerce มากที่สุด?
4
ลาดับคะแนนความพร้อมในการทา e-Commerce รายจังหวัด
ข้อมูลสามะโนอุตสาหกรรมประจาปี 2560 โดย NSO
อันดับ 1 ขอนแก่น
คะแนนความพร้อม 4.374
มีจานวนผู้ประกอบการทา e-Commerce
เป็นอันดับที่ 35
อันดับ 2 อุบลราชธานี
คะแนนความพร้อม 4.166
มีจานวนผู้ประกอบการทา e-Commerce
เป็นอันดับที่ 43
อันดับ 3 สมุทรปราการ
คะแนนความพร้อม 4.145
มีจานวนผู้ประกอบการทา e-Commerce
เป็นอันดับที่ 23
อันดับที่ 9 กรุงเทพฯ
คะแนนความพร้อม 3.608
มีจานวนผู้ประกอบการทา e-Commerce
เป็นอันดับที่ 1
อันดับ 14 เชียงใหม่
คะแนนความพร้อม 3.466
มีจานวนผู้ประกอบการทา e-Commerce
เป็นอันดับที่ 2
อันดับ 77 สระแก้ว
คะแนนความพร้อม 2.107
มีจานวนผู้ประกอบการทา e-Commerce
เป็นอันดับที่ 60
อันดับ 35 สุราษฎร์ธานี
คะแนนความพร้อม 3.177
มีจานวนผู้ประกอบการทา e-Commerce
เป็นอันดับที่ 3
ผลการ Scoring พบว่า
จังหวัดที่มีความพร้อมในการทา e-Commerce
สูงที่สุด ไม่ใช่ จังหวัดที่มีผู้ประกอบการทา
e-Commerce มากที่สุด 5
Scoring ความพร้อมการทา e-Commerce
มีเกณฑ์การให้คะแนน โดยพิจารณาจากช่องทาง ดังต่อไปนี้
คะแนน
ช่องทางการทา
e-Commerce
คาอธิบาย
1 คะแนน
ขายผ่านเว็บไซต์คนอื่น
เช่น การนา Banner
ไปวางบนหน้าเว็บไซต์
อื่น
การขายผ่านเว็บไซต์คนอื่น เสมือนการฝากขาย ผู้ประกอบการไม่
มีการบริหารจัดการระบบเว็บไซต์ด้วยตนเอง มีค่าใช้จ่าย ขึ้นกับ
การคิดค่าบริการของเว็บไซต์นั้นๆ การยืนยันตัวตน ไม่ระบุ
2 คะแนน
ขายผ่าน
Social Network
เช่น Facebook,
Line, Instagram
ฯลฯ
ผู้ประกอบการมีข้อมูล และทักษะเบื้องต้นในการทาอีคอมเมิร์ซ
สามารถบริหารจัดการหน้าร้านออนไลน์ได้ด้วยตนเอง วิเคราะห์
ข้อมูลหลังบ้านได้ไม่มีค่าใช้จ่ายในการเลือกใช้ช่องทางนี้ แต่มีการ
คิดค่าธรรมเนียมชาระเงินการยืนยันตัวตน email เบอร์โทรศัพท์
3 คะแนน
ขายผ่าน
e-Marketplace
ผู้ประกอบการมีข้อมูล และทักษะในการทาอีคอมเมิร์ซมากกว่า
Social Network สามารถบริหารจัดการสต็อค
ยอมรับเงื่อนไขการบริการ เช่น ค่าปรับ เป็นต้น ไม่มีค่าใช้จ่ายใน
การเลือกใช้ช่องทางนี้ แต่มีการคิดค่าธรรมเนียมชาระเงินการ
ยืนยันตัวตน email เบอร์โทรศัพท์ บัญชีธนาคาร เปิดบัญชี
ร้านค้าไม่ต่ากว่า 18 ปี
4 คะแนน ขายผ่านเว็บไซต์ตนเอง
ผู้ประกอบการมีข้อมูล และทักษะในการทาอีคอมเมิร์ซ มีการบริหาร
จัดการร้านค้า ใช้ทักษะการตลาดออนไลน์ให้ลูกค้าสามารถเข้าถึง
เว็บไซต์ได้ เช่น SEO Keywords มีค่าใช้จ่ายประจา (รายปี)
Domain name / server การยืนยันตัวตน ขึ้นอยู่กับ โดเมนเนม
นามสกุล หาก .th จากัดเอาไว้ให้เฉพาะคนไทยหรือ ธุรกิจ
หน่วยงาน องค์กร ที่จดทะเบียนในไทยเท่านั้น จาเป็นต้องใช้
เอกสารประกอบ
อ้างอิง : https://shopee.co.th/docs/3607
https://www.porar.com/domainname-document.html ข้อมูลสามะโนอุตสาหกรรมประจาปี 60 โดย NSO
สูตรการคานวณ
𝑿จังหวัด…
=
σ𝒊=𝟏
𝟏𝟓
𝒙 𝒊 𝒏𝒊
𝑵
X คือ ค่าคะแนนเฉลี่ยของแต่ละจังหวัด
i คือ รูปแบบคะแนนที่เป็นไปได้ มี 15 แบบ
x คือ คะแนนในแต่ละรูปแบบ
n คือ จานวนผู้ประกอบการในแต่ละรูปแบบคะแนน
N คือ จานวนผู้ประกอบการทั้งหมดในแต่ละจังหวัด
6
ข้อมูลเชิงลึก จังหวัดขอนแก่น
ข้อมูลสามะโนอุตสาหกรรมประจาปี 2560 โดย NSO 7
2. DBD ข้อมูลการจดทะเบียนประจาปี ตั้งแต่ปี 2553 – 2562 (ก.ค.)
รายงานบทวิเคราะห์โครงการ mSMEs SCORING
คุณคิดว่า
ผู้ประกอบการจังหวัดใด
มีอายุเฉลี่ยในการทา e-Commerce มากที่สุด ?
8
การจดทะเบียนพาณิชย์อิเล็ก��รอนิกส์
ข้อมูลการจดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ประจาปี ตั้งแต่ปี 2553 – 2562 (ก.ค.) โดย DBD9
6,724
9,132
7,285
5,423
4,166
2,001
1,591
704 451 309
ต่ากว่า 1 ปี 1 ปี 2 ปี 3 ปี 4 ปี 5 ปี 6 ปี 7 ปี 8 ปี 9 ปี
อายุกิจการของผู้ประกอบที่จดทะเบียนและยังดาเนินกิจการอยู่
อายุเฉลี่ยการดาเนินกิจการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ มีการกระจายตัวทั่วประเทศ
ส่วนรายจังหวัดสูงที่สุด คือ จังหวัดพังงา ที่ 3.426 ปี, พัทลุง ที่ 2.758 ปี, กาฬสินธุ์ ที่ 2.724 ปี ตามลาดับ
ข้อมูลการจดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ประจาปี ตั้งแต่ปี 2553 – 2562 (ก.ค.) โดย DBD 10
3. ETDA
ข้อมูลผลการสารวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2561
ข้อมูลมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2560-2561
รายงานบทวิเคราะห์โครงการ mSMEs SCORING
คุณคิดว่า
พฤติกรรมของผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงส่งผลธุรกิจประเภทใด?
11
พฤติกรรมของผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลง
โอกาสของผู้ประกอบการ&
ทาอีคอมเมิร์ซ
85,832 ราย
2,257,634 ราย
จำนวนผู้ประกอบกำร
mSMEs
12
ข้อมูลผลการสารวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2561 โดย ETDA
3.8%
ข้อมูลสามะโนอุตสาหกรรมประจาปี 2560 โดย NSO
ลูกค้าที่ซื้อของออนไลน์อยู่พื้นที่ใด
มูลค่าการขายสินค้า/บริการผ่านทางอินเทอร์เน็ต
ภายในประเทศของ SMEs + mSMEs
ข้อมูลมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2560-2561 โดย ETDA
13
mSMEs
ที่ทาอีคอมเมิร์ซ
มีโอกาสไปต่อ
3. พฤติกรรมที่
เปลี่ยนแปลงของผู้บริโภค
ส่งผลให้ อุตสาหกรรมที่นิยมในการทา
อีคอมเมิร์ซ คือ การค้าปลีก-ค่าส่ง
การท่องเที่ยวและบริการ
2. ระยะการอยู่รอด
ข้อมูลปี 2553 สค. ถึงปี 2562
มีจานวนทั้งสิ้น 42,328 ราย แบ่งเป็นผู้ที่
ดาเนินกิจการอยู่ 38,929 ราย เพิกถอนหรือ
เลิกกิจการอยู่ 3,399 ราย
1. ความพร้อมของผู้ประกอบการ
ผู้ประกอบการสามารถเข้าถึงช่องทางการทา
อีคอมเมิร์ซได้ทั่วประเทศ ไม่เฉพาะเพียงกรุงเทพ
เท่านั้น จากผลการ scoring
มีคะแนนที่ไม่แตกต่างกันมาก
92% ยังดาเนินกิจการ
มีเพียง
8.03% เท่านั้นที่เลิกกิจการ
ช่องทางการทาอีคอมเมิร์ซ
Social Network
ยังเป็นทางที่ได้รับความนิยมสูงสุด
14
ด้านพัฒนาศักยภาพ
ผู้ประกอบการ
ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ด้านบูรณาการ
1. การจัดระดับในการพัฒนา
ศักยภาพภาพ
เช่น จังหวัดที่ทา social network ได้
แล้ว ควรจะพัฒนาด้านอื่นเพิ่มเติม ต่อ
ยอดการพัฒนาศักยภาพ
2. Coaching เป็นพี่เลี้ยง (mentor)
เช่น ภายในจังหวัดนั้นๆให้ผู้ประกอบการ
ที่มีความพร้อมมากกว่าเป็นพี่เลี้ยง
สาหรับผู้ประกอบการที่เพิ่งเริ่มต้น หรือ
ความพร้อมน้อยกว่า
1. พัฒนาโครงสร้างตามประเภทธุรกิจ
เช่น จังหวัดธุรกิจท่องเที่ยว ควรส่งเสริม
ด้านโครงข่ายอินเทอร์เน็ต คมนาคม
สาธารณสุข เป็นลาดับแรก
2. เกิดการแข่งขันเสรีเพื่อลดต้นทุน
ลดการผูกขาดในธุรกิจที่ส่งผลต่อต้นทุน
ผู้ประกอบการ เช่น การขนส่ง การโฆษณา
เป็นต้น
1. มาตรฐาน (standard)
ในการเก็บข้อมูล
ออกแบบการเก็บข้อมูลให้สัมพันธ์กัน
ระหว่างหน่วยงานภาครัฐ เพื่อสามารถ
นาไปใช้ได้อย่างสะดวก และวิเคราะห์เชิง
ลึกได้มากขึ้น
2. การใช้ข้อมูลของหน่วยงานต่างๆ
ต่อยอดผลสัมฤทธิ์
บูรณาการการใช้ข้อมูลร่วมกันเพื่อให้
เกิดประโยชน์สูงสุด
การส่งเสริมอีคอมเมิร์ซ โดยรัฐในมิติต่างๆ
15
รัฐจะส่งเสริมอีคอมเมิร์ซอย่างไรในระยะต่างๆ
หากผู้ประกอบการสามารถ
เข้าใจถึงสถานการณ์ในการ
ดาเนินธุรกิจยุคปัจจุบันของ
ประเทศไทย และสามารถ
ปรับตัวได้ ก็จะสามารถทาอี
คอมเมิร์ซได้อย่างมีศักยภาพ
และอยู่รอดได้ด้วยตนเอง
เริ่มต้นทา
e-Commerce
0-1 ปี
ในระยะตั้งไข่
1-2 ปี
ระยะกลาง
2-5 ปี
ระยะอยู่ยาว
5 ปีขึ้นไป
ผู้ประกอบการมีโอกาส
ยกเลิกกิจการสูงมาก
ภาครัฐต้องดูแลอย่าง
ใกล้ชิดโดยใช้ Big Data
เป็นตัวกาหนดทิศทาง
เชิงนโยบายให้การ
สนับสนุนอย่างเต็มที่
ภาครัฐดูแลอย่างต่อเนื่อง
สนับสนุนเทคโนโลยีใหม่ๆเพื่อ
ตอบโจทย์กับผู้ประกอบการ
ภาครัฐดูแลข้อจากัดต่างๆ
ให้กับผู้ประกอบการทาให้
สามารถ ดาเนินธุรกิจได้
อย่างคล่องตัวมากขึ้น
โครงสร้างพื้นฐานต้องพร้อม
ส่งเสริมศักยภาพ ความรู้
ผู้ประกอบการไปต่อไม่ได้ เข้าไม่ถึงแหล่งเงินทุน ต้องมีตัวตน
และจดทะเบียนก่อนถึงจะไปต่อได้ ดังนั้น ควรสนับสนุนให้เข้าถึงแหล่ง
เงินทุนได้ในระดับที่ต่างๆกัน เช่น ทดลองผู้ประกอบการใน sandbox 16
สานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
แบบสอบถาม

More Related Content

ผลวิเคราะห์โครงการ mSMEs Scoring

  • 2. • ผลการ Scoring ที่สะท้อนความพร้อมของ mSMEs ไทย เพื่อนาไปสู่การต่อยอดศักยภาพที่ตรงกลุ่มเป้าหมาย • มีผลการวิเคราะห์ Data analysis ที่สามารถต่อยอด การส่งเสริม mSMEs ไทย จากแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ • Policy Recommendation ในการส่งเสริม mSMEs ไทย สาหรับภาครัฐ วัตถุประสงค์ 2 นาข้อมูลที่มีการจัดเก็บอยู่แล้วจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ ผู้ประกอบการ mSMEs ไปใช้วิเคราะห์เพื่อให้เกิดประโยชน์
  • 3. Raw Data ข้อมูลสามะโนอุตสาหกรรมปี 2560 จาก NSO Data Cleansing Scoring คะแนน ช่องทางการทา e-Commerce 1 คะแนน ขายผ่านเว็บไซต์คนอื่น เช่น การนา Bann er ไปวางบนหน้าเว็บไซต์อื่น 2 คะแนน ขายผ่าน Social Network เช่น Facebo ok, Line, Instagram ฯลฯ 3 คะแนน ขายผ่าน e-Marketplace 4 คะแนน ขายผ่านเว็บไซต์ตนเอง เกณฑ์การให้คะแนน โดยพิจารณาจากช่องทาง ผู้ประกอบ การสามารถเลือก ทา e-Commerce มากกว่า 1 ช่องทาง ทาให้ช่วงคะแนนอยู่ ที่ ช่วง 1-10 คะแนน Concept & Methodology • ข้อมูลจานวนผู้ประกอบการ mSMEs (ผู้ประกอบการที่มี การจ้างงานน้อยกว่า หรือ เท่ากับ 5 คน) ที่ทา e-Commerce • ขจัดข้อมูลที่ไม่มีการตอบ แบบสอบถาม หรือตอบ แบบสอบถามไม่ครบถ้วน • ขจัยข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง ข้อมูลการจดทะเบียน e-Commerce ผู้ประกอบการจาก DBD ข้อมูล พฤติการใช้อินเทอร์เน็ต / การ สารวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ใน ประเทศไทยจาก ETDA Results & Policy Recommendation Calculation 𝑋จังหวัด….. = σ 𝑖=1 15 𝑥𝑖 𝑛 𝑖 𝑁 Analysis 3
  • 4. 1. NSO ข้อมูลสามะโนอุตสาหกรรมประจาปี 2560 รายงานบทวิเคราะห์โครงการ mSMEs SCORING คุณคิดว่า ผู้ประกอบการจังหวัดใด มีความพร้อมในการทา e-Commerce มากที่สุด? 4
  • 5. ลาดับคะแนนความพร้อมในการทา e-Commerce รายจังหวัด ข้อมูลสามะโนอุตสาหกรรมประจาปี 2560 โดย NSO อันดับ 1 ขอนแก่น คะแนนความพร้อม 4.374 มีจานวนผู้ประกอบการทา e-Commerce เป็นอันดับที่ 35 อันดับ 2 อุบลราชธานี คะแนนความพร้อม 4.166 มีจานวนผู้ประกอบการทา e-Commerce เป็นอันดับที่ 43 อันดับ 3 สมุทรปราการ คะแนนความพร้อม 4.145 มีจานวนผู้ประกอบการทา e-Commerce เป็นอันดับที่ 23 อันดับที่ 9 กรุงเทพฯ คะแนนความพร้อม 3.608 มีจานวนผู้ประกอบการทา e-Commerce เป็นอันดับที่ 1 อันดับ 14 เชียงใหม่ คะแนนความพร้อม 3.466 มีจานวนผู้ประกอบการทา e-Commerce เป็นอันดับที่ 2 อันดับ 77 สระแก้ว คะแนนความพร้อม 2.107 มีจานวนผู้ประกอบการทา e-Commerce เป็นอันดับที่ 60 อันดับ 35 สุราษฎร์ธานี คะแนนความพร้อม 3.177 มีจานวนผู้ประกอบการทา e-Commerce เป็นอันดับที่ 3 ผลการ Scoring พบว่า จังหวัดที่มีความพร้อมในการทา e-Commerce สูงที่สุด ไม่ใช่ จังหวัดที่มีผู้ประกอบการทา e-Commerce มากที่สุด 5
  • 6. Scoring ความพร้อมการทา e-Commerce มีเกณฑ์การให้คะแนน โดยพิจารณาจากช่องทาง ดังต่อไปนี้ คะแนน ช่องทางการทา e-Commerce คาอธิบาย 1 คะแนน ขายผ่านเว็บไซต์คนอื่น เช่น การนา Banner ไปวางบนหน้าเว็บไซต์ อื่น การขายผ่านเว็บไซต์คนอื่น เสมือนการฝากขาย ผู้ประกอบการไม่ มีการบริหารจัดการระบบเว็บไซต์ด้วยตนเอง มีค่าใช้จ่าย ขึ้นกับ การคิดค่าบริการของเว็บไซต์นั้นๆ การยืนยันตัวตน ไม่ระบุ 2 คะแนน ขายผ่าน Social Network เช่น Facebook, Line, Instagram ฯลฯ ผู้ประกอบการมีข้อมูล และทักษะเบื้องต้นในการทาอีคอมเมิร์ซ สามารถบริหารจัดการหน้าร้านออนไลน์ได้ด้วยตนเอง วิเคราะห์ ข้อมูลหลังบ้านได้ไม่มีค่าใช้จ่ายในการเลือกใช้ช่องทางนี้ แต่มีการ คิดค่าธรรมเนียมชาระเงินการยืนยันตัวตน email เบอร์โทรศัพท์ 3 คะแนน ขายผ่าน e-Marketplace ผู้ประกอบการมีข้อมูล และทักษะในการทาอีคอมเมิร์ซมากกว่า Social Network สามารถบริหารจัดการสต็อค ยอมรับเงื่อนไขการบริการ เช่น ค่าปรับ เป็นต้น ไม่มีค่าใช้จ่ายใน การเลือกใช้ช่องทางนี้ แต่มีการคิดค่าธรรมเนียมชาระเงินการ ยืนยันตัวตน email เบอร์โทรศัพท์ บัญชีธนาคาร เปิดบัญชี ร้านค้าไม่ต่ากว่า 18 ปี 4 คะแนน ขายผ่านเว็บไซต์ตนเอง ผู้ประกอบการมีข้อมูล และทักษะในการทาอีคอมเมิร์ซ มีการบริหาร จัดการร้านค้า ใช้ทักษะการตลาดออนไลน์ให้ลูกค้าสามารถเข้าถึง เว็บไซต์ได้ เช่น SEO Keywords มีค่าใช้จ่ายประจา (รายปี) Domain name / server การยืนยันตัวตน ขึ้นอยู่กับ โดเมนเนม นามสกุล หาก .th จากัดเอาไว้ให้เฉพาะคนไทยหรือ ธุรกิจ หน่วยงาน องค์กร ที่จดทะเบียนในไทยเท่านั้น จาเป็นต้องใช้ เอกสารประกอบ อ้างอิง : https://shopee.co.th/docs/3607 https://www.porar.com/domainname-document.html ข้อมูลสามะโนอุตสาหกรรมประจาปี 60 โดย NSO สูตรการคานวณ 𝑿จังหวัด… = σ𝒊=𝟏 𝟏𝟓 𝒙 𝒊 𝒏𝒊 𝑵 X คือ ค่าคะแนนเฉลี่ยของแต่ละจังหวัด i คือ รูปแบบคะแนนที่เป็นไปได้ มี 15 แบบ x คือ คะแนนในแต่ละรูปแบบ n คือ จานวนผู้ประกอบการในแต่ละรูปแบบคะแนน N คือ จานวนผู้ประกอบการทั้งหมดในแต่ละจังหวัด 6
  • 8. 2. DBD ข้อมูลการจดทะเบียนประจาปี ตั้งแต่ปี 2553 – 2562 (ก.ค.) รายงานบทวิเคราะห์โครงการ mSMEs SCORING คุณคิดว่า ผู้ประกอบการจังหวัดใด มีอายุเฉลี่ยในการทา e-Commerce มากที่สุด ? 8
  • 10. 6,724 9,132 7,285 5,423 4,166 2,001 1,591 704 451 309 ต่ากว่า 1 ปี 1 ปี 2 ปี 3 ปี 4 ปี 5 ปี 6 ปี 7 ปี 8 ปี 9 ปี อายุกิจการของผู้ประกอบที่จดทะเบียนและยังดาเนินกิจการอยู่ อายุเฉลี่ยการดาเนินกิจการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ มีการกระจายตัวทั่วประเทศ ส่วนรายจังหวัดสูงที่สุด คือ จังหวัดพังงา ที่ 3.426 ปี, พัทลุง ที่ 2.758 ปี, กาฬสินธุ์ ที่ 2.724 ปี ตามลาดับ ข้อมูลการจดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ประจาปี ตั้งแต่ปี 2553 – 2562 (ก.ค.) โดย DBD 10
  • 11. 3. ETDA ข้อมูลผลการสารวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2561 ข้อมูลมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2560-2561 รายงานบทวิเคราะห์โครงการ mSMEs SCORING คุณคิดว่า พฤติกรรมของผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงส่งผลธุรกิจประเภทใด? 11
  • 14. mSMEs ที่ทาอีคอมเมิร์ซ มีโอกาสไปต่อ 3. พฤติกรรมที่ เปลี่ยนแปลงของผู้บริโภค ส่งผลให้ อุตสาหกรรมที่นิยมในการทา อีคอมเมิร์ซ คือ การค้าปลีก-ค่าส่ง การท่องเที่ยวและบริการ 2. ระยะการอยู่รอด ข้อมูลปี 2553 สค. ถึงปี 2562 มีจานวนทั้งสิ้น 42,328 ราย แบ่งเป็นผู้ที่ ดาเนินกิจการอยู่ 38,929 ราย เพิกถอนหรือ เลิกกิจการอยู่ 3,399 ราย 1. ความพร้อมของผู้ประกอบการ ผู้ประกอบการสามารถเข้าถึงช่องทางการทา อีคอมเมิร์ซได้ทั่วประเทศ ไม่เฉพาะเพียงกรุงเทพ เท่านั้น จากผลการ scoring มีคะแนนที่ไม่แตกต่างกันมาก 92% ยังดาเนินกิจการ มีเพียง 8.03% เท่านั้นที่เลิกกิจการ ช่องทางการทาอีคอมเมิร์ซ Social Network ยังเป็นทางที่ได้รับความนิยมสูงสุด 14
  • 15. ด้านพัฒนาศักยภาพ ผู้ประกอบการ ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ด้านบูรณาการ 1. การจัดระดับในการพัฒนา ศักยภาพภาพ เช่น จังหวัดที่ทา social network ได้ แล้ว ควรจะพัฒนาด้านอื่นเพิ่มเติม ต่อ ยอดการพัฒนาศักยภาพ 2. Coaching เป็นพี่เลี้ยง (mentor) เช่น ภายในจังหวัดนั้นๆให้ผู้ประกอบการ ที่มีความพร้อมมากกว่าเป็นพี่เลี้ยง สาหรับผู้ประกอบการที่เพิ่งเริ่มต้น หรือ ความพร้อมน้อยกว่า 1. พัฒนาโครงสร้างตามประเภทธุรกิจ เช่น จังหวัดธุรกิจท่องเที่ยว ควรส่งเสริม ด้านโครงข่ายอินเทอร์เน็ต คมนาคม สาธารณสุข เป็นลาดับแรก 2. เกิดการแข่งขันเสรีเพื่อลดต้นทุน ลดการผูกขาดในธุรกิจที่ส่งผลต่อต้นทุน ผู้ประกอบการ เช่น การขนส่ง การโฆษณา เป็นต้น 1. มาตรฐาน (standard) ในการเก็บข้อมูล ออกแบบการเก็บข้อมูลให้สัมพันธ์กัน ระหว่างหน่วยงานภาครัฐ เพื่อสามารถ นาไปใช้ได้อย่างสะดวก และวิเคราะห์เชิง ลึกได้มากขึ้น 2. การใช้ข้อมูลของหน่วยงานต่างๆ ต่อยอดผลสัมฤทธิ์ บูรณาการการใช้ข้อมูลร่วมกันเพื่อให้ เกิดประโยชน์สูงสุด การส่งเสริมอีคอมเมิร์ซ โดยรัฐในมิติต่างๆ 15
  • 16. รัฐจะส่งเสริมอีคอมเมิร์ซอย่างไรในระยะต่างๆ หากผู้ประกอบการสามารถ เข้าใจถึงสถานการณ์ในการ ดาเนินธุรกิจยุคปัจจุบันของ ประเทศไทย และสามารถ ปรับตัวได้ ก็จะสามารถทาอี คอมเมิร์ซได้อย่างมีศักยภาพ และอยู่รอดได้ด้วยตนเอง เริ่มต้นทา e-Commerce 0-1 ปี ในระยะตั้งไข่ 1-2 ปี ระยะกลาง 2-5 ปี ระยะอยู่ยาว 5 ปีขึ้นไป ผู้ประกอบการมีโอกาส ยกเลิกกิจการสูงมาก ภาครัฐต้องดูแลอย่าง ใกล้ชิดโดยใช้ Big Data เป็นตัวกาหนดทิศทาง เชิงนโยบายให้การ สนับสนุนอย่างเต็มที่ ภาครัฐดูแลอย่างต่อเนื่อง สนับสนุนเทคโนโลยีใหม่ๆเพื่อ ตอบโจทย์กับผู้ประกอบการ ภาครัฐดูแลข้อจากัดต่างๆ ให้กับผู้ประกอบการทาให้ สามารถ ดาเนินธุรกิจได้ อย่างคล่องตัวมากขึ้น โครงสร้างพื้นฐานต้องพร้อม ส่งเสริมศักยภาพ ความรู้ ผู้ประกอบการไปต่อไม่ได้ เข้าไม่ถึงแหล่งเงินทุน ต้องมีตัวตน และจดทะเบียนก่อนถึงจะไปต่อได้ ดังนั้น ควรสนับสนุนให้เข้าถึงแหล่ง เงินทุนได้ในระดับที่ต่างๆกัน เช่น ทดลองผู้ประกอบการใน sandbox 16